คำถามหลัก (Big Question):
ถั่วมีหลากหลายชนิด เป็นธัญพืชที่มีคุณค่าและสามารถรับประทานได้ เราจะมีวิธีเลือกรับประทานถั่วแต่ละชนิดอย่างปลอดภัยและมีคุณค่าสูงสุดอย่างไร
ถั่วมีหลากหลายชนิด เป็นธัญพืชที่มีคุณค่าและสามารถรับประทานได้ เราจะมีวิธีเลือกรับประทานถั่วแต่ละชนิดอย่างปลอดภัยและมีคุณค่าสูงสุดอย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา:
ปัจจุบันถั่วในท้องตลาดมีสารปนเปื้อนปะปนอยู่กับถั่ว เช่น สารกันรา สารฟอกขาว เชื้อราและแบคทีเรียในถั่ว ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปจะสะสมอยู่ในร่างกายทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งระยะสั้นและระยะยาว อีกทั้งถั่วบางชนิดมีการตัดต่อพันธุกรรมเพื่อให้ได้เมล็ดที่โตขึ้นทนต่อสภาพอากาศ แสง ความแห้งแล้ง ฯลฯ ทำให้ถั่วพื้นเมืองบางชนิดกำลังจะสุญพันธุ์ เช่น ถั่วลิสง ถั่วพู ถั่วฝักยาว ฯลฯ ดังนั้นนักเรียนจึงต้องศึกษาค้นคว้าเรื่องถั่วเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับถั่วชนิดต่าง ๆ สามารถเลือกรับประทานถั่วแต่ละชนิดได้อย่างปลอดภัยและมีคุณค่ารวมทั้งมีทักษะการปลูกและผลิตอาหารจากถั่วชนิดต่างๆได้อย่างมีคุณค่าทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
ปฏิทินการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง “สวนถั่วหรรษา”
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 (Quarter 2) ประจำปีการศึกษา 2557
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
4-8
ส.ค. 57
|
โจทย์ สร้างฉันทะ/สร้างแรง
คำถาม
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter นี้
เพราะเหตุใดจึงอยากเรียน
-นักเรียนจะตั้งชื่อสิ่งที่อยากเรียนรู้นี้ว่าอะไร
เพราะเหตุใด
เครื่องมือคิด
- Blackboard
Share แสดงความคิดร่วมกันเกี่ยวกับสารคดีที่ได้ดู
- Brainstorms แลกเปลี่ยนสิ่งที่เห็น และความรู้สึกของตนเอง
- Mind
Mapping สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
- Show
and Share นำเสนอชิ้นงานสิ่งที่อยากเรียนรู้ใน Quarter
นี้
เครื่องมือคิด
- Think
Pair Share ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
สื่อ/อุปกรณ์
- ดูคลิป “การเจริญเติบโตของถั่ว” และ “เพลงถั่วงอกเต้นระบำ”
- เมล็ดถั่วหลาย ๆ ชนิด
- บรรยากาศในห้องเรียน
|
กิจกรรม
- ครูให้ดูคลิป “การเจริญเติบโตของถั่วและเพลงถั่วงอกเต้นระบำ”
ครูกระตุ้นความคิดด้วยคำถาม “นักเรียนเห็นอะไรในคลิปบ้าง
และนักเรียนคิดว่าถั่วเกี่ยวข้องอย่างไรกับชีวิตเรา”
-ครูและนักเรียนคัดเลือกและแยกเมล็ดถั่วแต่ละชนิดที่นักเรียนนำมา
- วิเคราะห์ เกี่ยวกับชนิดของถั่วนักเรียนเห็นอะไร
- นักเรียนเตรียมแปลงปลูกถั่วและปลูกถั่ว
- นักเรียนเตรียมแปลงปลูกถั่วและปลูกถั่ว
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรในQuarter นี้ ผ่านเครื่องมือคิด Card
and Chart พร้อมให้เหตุว่าเพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้
เรื่องนั้น
-
นักเรียนจะตั้งชื่อ เรื่องที่อย่างเรียนว่าอย่างไร เพราะอะไรถึงตั้งชื่อนั้น
|
ภาระงาน
- คัดแยกเมล็ดพันธุ์ถั่ว
-
เตรียมดินและปลูกถั่วที่แปลง
- การสนทนาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีการนำถั่วไปปลูกและการดูแลหลังจากปลูกแล้ว
- ดูแล และบันทึกการเจริญเติบโตของแปลงถั่ว
- แสดงความคิดเห็นให้เหตุผลประกอบเรื่องที่อยากเรียนรู้
-
ระดมความคิดตั้งชื่อหน่วย PBL
ชิ้นงาน
- ปลูกถั่ว
- สมุดบันทึกการเจริญเติบโตของถั่ว
- เขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
ทั้งสามารถให้เหตุผลเรื่องที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
- ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในการปลูกถั่วให้คุ้มค่าและเหมาะสม
-ทำงานอย่างมีเป้าหมายและมีการวางแผนในการปลูกถั่ว
ทักษะการสื่อสาร
- พูด/สื่อสารเหตุการณ์ที่ตนเองดีใจและเสียใจในวันหยุดที่ผ่านมาได้
- พูดนำเสนอสิ่งที่ได้ดูจากการดูคลิปให้ครูและเพื่อนๆฟังอย่างมีเหตุผล
ทักษะการจัดการข้อมูล
สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลจากการดูคลิปเพื่อทำนำมาสรุปร่วมกันได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้
กระตือรือร้นในการทำงาน การร่วมกิจกรรมจนสำเร็จ
- มีความพยายาม
อดทนในการทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
|
2
11-15
ส.ค. 57
|
โจทย์ วางแผนการเรียนรู้
คำถาม
-นักเรียนรู้อะไรเกี่ยวกับถั่วและอยากเรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้
-นักเรียนจะออกแบบวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Blackboard Share สิ่งที่รู้แล้วและคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Round Rubin แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- Show and Share ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ นำเสนอชิ้นงาน
- Wall Thinking ปฏิทินการเรียนรู้,สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศในห้องเรียน
- แปลงถั่ว
|
กิจกรรม
- เขียนสิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากรู้
- ทำปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- ดูแปลงถั่วที่ปลูก
-ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูแลแปลงถั่วที่ปลูกไว้ทุกวัน
พร้อมทั้งบันทึกการเปลี่ยนแปลง
- นำเสนอปฏิทินการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- บันทึกการเปลี่ยนแปลงของต้นถั่วที่แปลง
- สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน (Mind Mapping)
- ทำสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ทำเค้าโครงปฏิทินการเรียนรู้แต่ละสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
สามารถทบทวนความรู้ความเข้าใจก่อนเรียนผ่านการเขียนสิ่งที่รู้แล้ว, Mind mapping และสามารถออกแบบวางแผนกระบวนการเรียนรู้ตลอด10สัปดาห์ได้
ทักษะ:
ทักษะชีวิต
- ออกแบบและเขียน Mind
Mapping / ปฏิทินได้
- ออกแบบกิจกรรมการเรียนได้อย่างน่าสนใจ
- เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
- ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่าเช่น
สี กระดาษ กรรไกร
- เห็นการเชื่อมโยง
เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการสื่อสาร
สามารถพูดอธิบายนำเสนอปฏิทินการเรียนรู้ให้ครูและเพื่อนๆฟังอย่างมีเหตุผล
ทักษะการจัดการข้อมูล
- คิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำ Mind Mapping ก่อนเรียน
- จัดหมวดหมู่ปฏิทินรายสัปดาห์ได้
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
- คิดวางแผนเนื้อหาและกิจกรรมที่อยากเรียนรู้ให้สอดคล้องกับเรื่องที่อยากเรียน
ทักษะ การแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้
กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายาม
อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
|
3
18-22
ส.ค. 57
|
โจทย์ ประวัติความเป็นมาของถั่วในประเทศไทย
โครงสร้างของเมล็ด
คำถาม
-ถั่วแต่ละชนิดมีที่มาอย่างไร
-เมล็ดถั่วกับทารกในครรภ์มีโครงสร้างเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับการแบ่งชนิดของถั่ว
- Round Rubin แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับชนิดของถั่ว
- Show and Share นำเสนอการแยกชนิดถั่ว
- ชักเย่อความคิด
ถั่วเกษตรดีกว่าถั่วพื้นเมืองจริงหรือ
สื่อ/อุปกรณ์
- วีดีโอตัวอ่อนคนในครรภ์และเมล็ดถั่ว
- บรรยากาศในห้องเรียน
- แปลงถั่ว
|
กิจกรรม
- ค้นคว้าหาที่มาของถั่วแต่ละชนิดที่นักเรียนรู้จัก
-ค้นคว้าหาเมล็ดถั่วกับตัวอ่อนคนมีโครงสร้างเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
- ศึกษาโครงสร้างของเมล็ดถั่ว/บันทึกผล
1.
ดูโครงสร้างภายนอก
2.
ผ่าเม็ดถั่วแต่ละชนิดดูองค์ประกอบภายในของเมล็ด
- ดูการเจริญเติบโตถั่วที่ปลูก
-วิเคราะห์เทียบเคียงโครงสร้างเมล็ดถั่วกับทารกในครรภ์
วาดภาพประกอบ
-ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูแลแปลงถั่วที่ปลูกไว้ทุกวัน
พร้อมทั้งบันทึกการเปลี่ยนแปลง
- หาข้อมูลเกี่ยวกับการค้นพบถั่วและการนำเข้ามาของถั่วในประเทศไทย
- แยกชนิดของเมล็ดถั่ว
- ผ่าเมล็ดถั่วดูโครงสร้างภายในเมล็ดถั่ว
ชิ้นงาน
- นิทาน/การ์ตูนช่อง เรื่องกำเนิดถั่ว
-
วาดภาพประกอบเทียบเคียงโครงสร้างเมล็ดถั่วกับทารกในครรภ์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจถึงประวัติความเป็นมาของการกำเนิดถั่วและมองเห็นโครงสร้างองค์ประกอบทั้งภายนอกและภายในของเมล็ดถั่วซึ่งมีผลสำคัญต่อการงอกของเมล็ดถั่ว
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ที่จะนำมาศึกษาเมล็ดถั่วได้อย่างเหมาะสม
- เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
- เห็นการเชื่อมโยง
เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการสื่อสาร
สามารถพูดอธิบายนำเสนอการเรียนรู้ให้ครูและเพื่อนๆฟังอย่างมีเหตุผลทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำการผ่าเมล็ดถั่ว
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
ออกแบบการบันทึกข้อมูลที่ทดลองได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ การแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้
กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายาม
อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
|
4
25-29
ส.ค. 57
|
โจทย์ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของถั่ว
คำถาม
ถั่วเจริญเติบโตได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับการแบ่งชนิดของถั่ว
- Jig saw แบ่งกลุ่มทำการทดลองปัจจัยการเจริญเติบโตของพืช
- Show and Share นำเสนอการทดลอง
- Round Table วิเคราะห์สาเหตุเพราะเหตุใดถั่วที่แช่อยู่น้ำจึงไม่งอกแต่ถั่วที่แช่น้ำและโดนอากาศจึงงอก
- ชักเย่อความคิด
ถั่วเมล็ดใหญ่งอกเร็วกว่าเมล็ดเล็กจริงหรือ
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศในห้องเรียน
- แปลงถั่ว
|
กิจกรรม
-
ศึกษา
คุณสมบัติของสาร ของแข็งของเหลว อากาศ
-
ทดลองปลูกถั่วโดยควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการเติบโต
โดยปลูกถั่วเปรียบเทียบกัน 2 กระถาง
1.
ควบคุมปัจจัยเรื่องน้ำ กำหนดให้ทั้งสองกระถางใช้ดินที่เดียวกัน
กระถางที่หนึ่งรดน้ำสม่ำเสมอทุกวันกระถางที่สองรดน้ำครั้งแรกที่ปลูกครั้งเดียว
2.
ควบคุมปัจจัยเรื่องแสง กำหนดให้ทั้งสองกระถางใช้ดินที่เดียวกันแต่กระถางที่หนึ่งให้โดนแสง
กระถางที่สองคลุมไม่ให้โดนแสง รดน้ำสม่ำเสมอทุกวัน
3.
ควบคุมปัจจัยเรื่องดิน
กำหนดให้ทั้งสองกระถางใช้ดินที่เดียวกันแต่กระถางที่หนึ่งใส่ปุ๋ยเพิ่มลงไปกระถางที่สองไม่ใส่ปุ๋ยรดน้ำสม่ำเสมอทุกวัน
4.
อากาศมีผลกับการงอกของเมล็ด แช่ถั่วในน้ำแล้วแบ่งใส่ภาชนะ 2 ใบ ใบที่หนึ่งแช่ถั่วจมน้ำ ใบที่ 2 วางบนภาชนะมีน้ำเล็กน้อยแต่ถั่วไม่จมน้ำ
-
บันทึกผลการสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการทดลองและผลที่เกิดขึ้น
- ทดลองการทำงานของส่วนต่าง ๆ ของพืช
นำต้นถั่วมาใส่ในภาชนะที่ใส่น้ำผสมสีผสมอาหาร
1.
สังเกตสีของลำต้นภายนอก
2.
ผ่าลำต้นแนวขวาง
และตามยาว
- วิเคราะห์ หน้าที่และการทำงานของส่วนต่างๆ
ของถั่วเชื่อมโยงกับคน
- ดูการเจริญเติบโตถั่วที่ปลูก ดูแลใส่ปุ๋ย
รดน้ำ และพรวนดิน
-ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูแลแปลงถั่วที่ปลูกไว้ทุกวัน พร้อมทั้งบันทึกการเปลี่ยนแปลง
- ออกแบบการทำลองเกี่ยวกับการทดลองหาปัจจัยเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของพืช
(น้ำ แสง ดิน อากาศ)
-ทดลองปลูกถั่วตามปัจจัยต่างๆ
-ศึกษา ทดลองโครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของพืช
ชิ้นงาน
- ภาพวาดการเปลี่ยนแปลงของการทดลองต่าง
ๆ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจความแตกต่างของปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตอยู่ได้ของพืช
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ที่จะนำมาเพาะเมล็ดถั่วได้อย่างเหมาะสม
- เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
- เห็นการเชื่อมโยง
เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการสื่อสาร
สามารถพูดอธิบายนำเสนอทดลองให้ครูและเพื่อนๆฟังอย่างมีเหตุผล
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำดูการเปลี่ยนแปลงของเมล็ดถั่วที่มีปัจจัยต่างๆมาเกี่ยวข้อง
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวางทำกิจกรรมได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้
กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายาม
อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
|
5
1-5 ก.ย. 57
|
โจทย์ การเพาะถั่วงอก
(หลายชนิด)
คำถาม
นักเรียนจะมีวิธีการเพาะถั่วอย่างไรให้ปลอดภัยและได้คุณค่าทางอาหารสูง
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันวิธีการเพาะถั่วงอก
-Place Mat การวิเคราะห์เกี่ยวกับวิธีเพาะถั่วงอกที่ได้ผลดีที่สุด
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานวิธีเพาะถั่วงอก
- ชักเย่อความคิด
ถั่วงอกที่ขาวอวบดีกว่าถัวงอกธรรมชาติจริงหรือ
สื่อ/อุปกรณ์
- คลิปวีดีโอ การเพาะถั่วงอก
- บรรยากาศในห้องเรียน
- แปลงถั่ว
|
กิจกรรม
-
เลือกถั่วชนิดต่างๆที่จะนำมาเพาะเป็นถั่วงอก
(ถั่วเขียว ถั่วแดง ถั่วดำ ถั่วเหลือง)และวางแผนวิธีการเพาะถั่วงอก
-
ให้นักเรียนนำอุปกรณ์ที่จะเพาะถั่วงอกมา
1.
เพาะในขวดพลาสติก
2.
เพาะด้วยกระดาษทิชชู
3.
เพาะด้วยสำลี
4.
เพาะด้วยกาบมะพร้าว
5.
เพาะด้วยแกลบ
6.
เพาะด้วยกระสอบป่าน
- วิเคราะห์ สังเกตการงอกของถั่วแต่ละชนิด ราก
ต้นใบ
- ดูการเจริญเติบโตถั่วที่ปลูก
- ประกอบอาหารจากถั่ว
และถั่วงอก
- เพาะถั่วงอกเพื่อใช้ในสัปดาห์ต่อไป
- วิธีการเก็บผลิตถั่วงอก ให้ได้คุณภาพดี
-ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูแลแปลงถั่วที่ปลูกไว้ทุกวัน
พร้อมทั้งบันทึกการเปลี่ยนแปลง
- คิดเมนูอาหารจากถั่ว
- เพาะถั่วงอก
- บันทึกการทดลอง
ชิ้นงาน
- อุปกรณ์และการเพาะถั่วงอก
- ออกแบบประกอบอาหารจากถั่วเพื่อจำหน่ายสร้างรายได้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถเลือกวัสดุอุปกรณ์ที่เมาะสมกับการเพาะถั่วงอกพร้อมทั้งสามารถนำวัตถุดิบมาประกอบเป็นอาหารเพื่อจำหน่ายให้เกิดรายได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ที่จะนำมาเพาะเมล็ดถั่วได้อย่างเหมาะสม
- เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
- เห็นการเชื่อมโยง
เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการสื่อสาร
สามารถพูดอธิบายนำเสนอทดลองให้ครูและเพื่อนๆฟังอย่างมีเหตุผล
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำดูการเปลี่ยนแปลงของเมล็ดถั่วที่มีปัจจัยต่างๆมาเกี่ยวข้อง
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวางทำกิจกรรมได้อย่างสร้างสรรค์ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานกลุ่ม
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้
กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายาม
อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
|
6
8-12 ก.ย. 57
|
โจทย์ พลังงานและคุณค่าทางอาหารของถั่ว
คำถาม
ถั่วมีคุณค่าทางอาหารที่เป็นประโยชน์กับคนอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันคุณค่าทางอาหาร
-Place Mat การวิเคราะห์เกี่ยวกับคุณค่าทางอาหาร
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานการทดลอง
- ชักเย่อความคิด ถั่วมีประโยชน์มากกว่าโทษจริงหรือ
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศในห้องเรียน
- แปลงถั่ว
|
กิจกรรม
-
ค้นหาข้อมูลและทดลองหาสารอาหารในเมล็ดถั่วและถั่วงอกที่เพาะไว้ (ทดสอบโดยใช้สารคอบเปอร์
(ll) ซัลเฟต
ถ้ามีโปรตีนจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงอมชมพู
- ทดสอบโปรตีนในเมล็ดถั่ว ถั่วงอก
เปรียบเทียบกัน
-
ทดสอบโปรตีนในถั่วเปรียบเทียบกับอาหารชนิดอื่น ๆ เช่น ไข่ขาว ไข่แดง เนื้อสัตว์
ข้าว ผักต่างๆ
-
วิเคราะห์ผลการทดลองที่เกิดขึ้นเชื่อมโยงสู่การเลือกรับประทานเพื่อให้ร่างกายได้รับโปรตีนที่เหมาะสมแต่ละช่วงวัย
-
สรุปการทดลองวันจันทร์
-
ศึกษาค้นคว้าภัยที่มากับถั่ว
- ดูการเจริญเติบโตถั่วที่ปลูก
- เพาะถั่วงอกเพื่อใช้ในสัปดาห์ต่อไป
-ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ชิ้นงาน
- การ์ตูนช่อง/นิทานจากการทดลองต่างๆ
- บันทึกการทดลองเรื่องสารอาหาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- ดูแลแปลงถั่วที่ปลูกไว้ทุกวัน
พร้อมทั้งบันทึกการเปลี่ยนแปลง
- ทดสอบสารอาหารในถั่วและอื่นๆ
- บันทึกการทดลอง
|
ความรู้
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณค่าทางอาหารและตระหนักถึงภัยที่มากับถั่วนำไปสู่การเลือกรับประทานถั่วได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์สูงสุด
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถเลือกใช้อุปกรณ์ที่จะนำมาเพาะเมล็ดถั่วได้อย่างเหมาะสม
- เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
- เห็นการเชื่อมโยง
เห็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและกิจกรรมที่เรียน
ทักษะการสื่อสาร
สามารถพูดอธิบายนำเสนอทดลองให้ครูและเพื่อนๆฟังอย่างมีเหตุผลทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำดูการเปลี่ยนแปลงของเมล็ดถั่วที่มีปัจจัยต่างๆมาเกี่ยวข้อง
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
สามารถทำงานเป็นทีมและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
ทักษะ การคิดสร้างสรรค์
คิดวางทำกิจกรรมได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ ICT
-สามารถเลือกใช้แหล่งค้นคว้าข้อมูลได้อย่างหลากหลายตรงตามวัตถุประสงค์
-วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลเรื่องถั่วได้อย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทันภัย
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้
กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายาม
อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
|
7
15-19 ก.ย. 57
|
โจทย์ ระบบนิเวศน์ในแปลงถั่ว
คำถาม
นักเรียนคิดว่าในแปลงถั่วของเรามีสิ่งใดอยู่บ้างและมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร
เครื่องมือคิด
-
Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบในแปลงถั่ว
- Show and Share นำเสนอชิ้นงานความเกี่ยวข้องกันของสิ่งมีชีวิตในแปลงถั่ว
-Jig saw
ค้นคว้าหาข้อมูลความเกี่ยวข้องของสิ่งต่างๆ ในแปลงถั่ว
สื่อ/อุปกรณ์
- Tablet อินเตอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- แปลงถั่ว
|
กิจกรรม
-
ครูและนักเรียนเดินสำรวจรอบๆ บริเวณแปลงถั่ว และถามกระตุ้นความคิด “นักเรียนพบอะไรบ้างในแปลงถั่วของตนเองและเพื่อนๆ”
-หาข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่พบ
และหาความเชื่อมโยงของระบบนิเวศน์ในแปลงถั่ว
-สังเกตชนิดใบเลี้ยงจากต้นลำไย
ข้าว และถั่วที่เพาะไว้ นักเรียนหาข้อมูลเกี่ยวกับใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่
- ดูคลิปอาหารที่ทำจากถั่ว
- เพาะถั่วงอกเพื่อใช้ในสัปดาห์ถัดไป
-ทบทวนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูแลแปลงถั่วที่ปลูกไว้ทุกวัน พร้อมทั้งบันทึกการเปลี่ยนแปลง
-
ค้นคว้าความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในแปลงถั่ว
-
ประกอบอาหารจากถั่วงอก (เกี้ยวถั่วงอก)
ชิ้นงาน
-
วาดภาพสิ่งมีชีวิตที่พบในแปลงถั่วพร้อมบอกถึงความสัมพันธ์กันของสิ่งเหล่านนั้น
-
สรุปและแยกชนิดของใบเลี้ยงพืช
-
อาหารที่ทำจากถั่วงอก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจถึงระบบนิเวศน์ของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตที่ต้องพึ่งพาอาศัยกัน
และมองเห็นความแตกต่างของส่วนประกอบของพืชสามารถแยกชนิดของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- ทำอาหารจากถั่วได้
- เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
- ใช้ทรัพยากรในโรงเรียนที่มีอยู่ให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่พบในแปลงถั่ว
และสามารถบอกชนิดของใบเลี้ยงพืชได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผน ออกแบบค้นคว้าหาข้อมูลของสิ่งมีชีวิตต่าง
นำมาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ได้ รวมทั้งคิดออกแบบอาหารจากวัตถุดิบที่ผลิตเอง
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอข้อมูลระบบนิเวศน์และชนิดของใบเลี้ยงให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
ทักษะ ICT
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของระบบนิเวศน์และชนิดของใบเลี้ยงพืชได้
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
|
8
22-26 ก.ย. 57
|
โจทย์ วัฒนธรรมความเชื่อ
การประกอบและการถนอมอาหารประเภทถั่ว
คำถาม
นักเรียนมีวิธีการประกอบอาหารคาวที่มีถั่วในอาหารนั้นได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
-
Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวกับการถนอมอาหารประเภทถั่ว
- Show
and Share นำเสนอชิ้นงานการถนอมอาหารประเภทถั่ว
- Jig Saw คิดเมนูอาหารในแต่ละกลุ่ม
สื่อ/อุปกรณ์
- คลิปถนอมอาหารจากถั่ว (กบนอกกะลาถั่วเน่า)
- บรรยากาศในห้องเรียน
- แปลงถั่ว
|
กิจกรรม
-ดูคลิปถนอมอาหารที่ทำจากถั่ว
(กบนอกกะลาถั่วเน่า)
-นักเรียนคิดเมนูอาหารที่ทำจากถั่ว
-เพาะถั่วงอก
-วางแผนการเตรียมอุปกรณ์ที่จะแระกอบอาหารกลางวันรับประทาน
-อาหารหวานจากถั่วเขียวผ่าซีก
(วุ้นถั่วเขียวผ่าซีก)
-ดูการเจริญเติบโตถั่วที่ปลูก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูแลแปลงถั่วที่ปลูกไว้ทุกวัน พร้อมทั้งบันทึกการเปลี่ยนแปลง
-
เพาะถั่วงอก
-
ประกอบอาหารคาวและหวานจากถั่ว
ชิ้นงาน
-
อาหารกลางวันที่ทำจากถั่ว
-
อาหารหวานจากถั่ว (วุ้นถั่วเขียวผ่าซีก)
- สมุดบันทึกถั่ว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการถนอมอาหารให้อยู่ได้นานและมีความปลอดภัยกับการรับประทานรวมทั้งสามารถประกอบอาหารทั้งคาวและหวานรับประทานเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- ทำอาหารจากถั่วได้
- เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
- ใช้ทรัพยากรในโรงเรียนที่มีอยู่ให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับ การทำเต้าส่วน สาคูถั่วดำ
ให้น่าสนใจและคงคุณค่าทางอาหารได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผน
ออกแบบ การทำอาหารจากถั่วให้น่าสนใจและคงคุณค่าทางอาหารได้
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนออาหารให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
|
9
29-30 ก.ย.- 57
1-3 ต.ค. 57
|
โจทย์ ถั่วในอนาคต
คำถาม
-นักเรียนคิดว่าอาหารจากถั่วในอีก
10 ข้างหน้าจะเป็นอย่างไร
เครื่องมือคิด
-
Brainstorms ระดมความคิดร่วมกันเกี่ยวลักษณะถั่วที่ตนเองรู้จักพร้อมกับบอกคุณประโยชน์
- Jig saw ค้นคว้าหาข้อมูลถั่วต่างๆ
- Show
and Share นำเสนอชิ้นงานที่ค้นคว้าหาข้อมูลถั่ว
สื่อ/อุปกรณ์
- อินเตอร์เน็ต
- บรรยากาศในห้องเรียน
- แปลงถั่ว
|
กิจกรรม
-นักเรียนค้นคว้าหาข้อมูลลักษณะ
การปลูก ระยะเวลา ประโยชน์ของถั่วในปัจจุบัน
-นักเรียนนำเสนองานที่ค้นคว้ามา
-
นักเรียนคิดว่าอาหารประเภทถั่วในอนาคตจะเป็นอย่างไร
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูแลแปลงถั่วที่ปลูกไว้ทุกวัน พร้อมทั้งบันทึกการเปลี่ยนแปลง
- ค้นคว้าหาข้อมูลลักษณะ ประโยชน์ ภัยจากการรับประทานถั่วต่างๆ
-
นำเสนอข้อมูลที่ได้ค้นคว้าหามา
ชิ้นงาน
- ข้อมูลถั่วต่างๆ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายถึงลักษณะของถั่วพร้อมทั้งบอกคุณประโยชน์และภัยจากการรับประทานของถั่วนั้นๆ
ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
-
สังเกตและนำสิ่งที่พบเจอมาบอกเล่าให้ผู้อื่นฟังพร้อมทั้งนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
- เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
- ใช้ทรัพยากรในโรงเรียนที่มีอยู่ให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผน ออกแบบขายอาหารจากถั่วให้น่าสนใจและคงคุณค่าทางอาหารได้
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนออาหารให้ครูและเพื่อนๆฟังได้
ทักษะ ICT
สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ ระยะเวลาและฤดูที่เหมาะสม รวมทั้งประโยชน์และโทษของถั่วนั้นๆได้
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้ กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายาม อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
|
10
6-10 ต.ค. 57
|
โจทย์ สรุปองค์ความรู้
คำถาม
-นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้โครงงาน “ถั่ว” ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
- สิ่งที่ทำดีแล้ว
และสิ่งที่ควรปรับปรุงมีอะไรบ้าง
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างในQuarter นี้
เครื่องมือคิด
Round Rubin และBlackboard
Share สนทนา ถามตอบทบทวนกิจกรรมที่เกิดขึ้นใน Quarter นี้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้
- Card and Chart สิ่งที่ดีแล้ว-สิ่งที่ควรพัฒนา
- Round Rubin และ Think
pair share
จะเผยแพร่องค์ความรู้อย่างไร
สื่อ/อุปกรณ์
- บรรยากาศในห้องเรียน
|
กิจกรรม
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
- วางแผนการนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นรู้และเข้าใจ
- นักเรียนและครูร่วมกันประเมินเพื่อสะท้อนผลงาน
- สรุปผลการปลูกถั่วที่แปลง
-ระดมความคิดเขียน “ สิ่งที่ทำได้ดี
และ สิ่งที่ควรปรับปรุง เกี่ยวกับการเรียนโครงงาน
- นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน
ผ่านการจัดนิทรรศการหนังสือนิทาน ให้เพื่อนๆ น้องๆได้ชม
- แลกเปลี่ยนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- เขียนสิ่งที่ดีแล้วสิ่งที่ควรปรับปรุง
- นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน
ผ่านนิทาน
- เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียน
-จัดนิทรรศการเผยแพร่สรุปองค์ความรู้
ชิ้นงาน
- Mind Mapping
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- สรุปสิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรปรับปรุง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
นิทรรศการเผยแพร่สรุปองค์ความรู้
|
ความรู้
สามารถการวางแผนการนำเสนอการเรียนรู้ที่ผ่านมาให้แก่ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้ในรูปแบบที่น่าสนใจ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถจัดนิทรรศการเผยแพร่ความรู้และสามารถอธิบายกระบวนการเจริญเติบโตขิงถั่วได้)
- เก็บกวาดอุปกรณ์หลังการทำงานทุกครั้ง
- ใช้ทรัพยากรของห้องที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่า
ทักษะการจัดการข้อมูล
คิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนมาได้
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คิดวางแผน
ออกแบบกิจกรรมในการนำเสนอผลงานได้
ทักษะการสื่อสาร
พูดนำเสนอ ละคร
สรุปองค์ความรู้ให้ครูและคนอื่นๆฟังได้
คุณลักษณะ
- รักการเรียนรู้
กระตือรือร้นในการทำงาน
- มีความพยายาม
อดทนในการทำงานให้สำเร็จ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
|
สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากรู้
หน่วย “สวนถั่วหรรษา”
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
Quarter 2 ปีการศึกษา 2557
สิ่งที่รู้แล้ว
|
สิ่งที่อยากเรียนรู้
|
|
§ ถั่วเขียวผ่าซีกเป็นสี้เหลือง
§ ถั่วสีไม่เหมือนกัน
§ ถั่วแต่ละชนิดไม่เหมือนกัน
§ วิธีการปลูกถั่วปลูกในดิน
§ ปลูกถั่วต้องแช่เมล็ดในน้ำ
1
คืน
§ ใส่ปุ๋ยแล้วถั่วโต
§ รดน้ำแล้วถั่วโต
|
§ ทำไม่ถั่วถึงเน่าเมื่อแช่น้ำนาน
§ ทำไมถั่วเป็นสีเขียว
§ ทำไมถั่วเหลืองเป็นสีเหลือง
§ ทำไมถึงชื่อว่าถั่ว
§ ถั่วมาจากไหน
§ วิธีการปลูกถั่วมีแบบไหนบ้าง
§ ทำไมถั่วแต่ละชนิดไม่เหมือนกัน
§ ทำไมถั่วแต่ละเมล็ดไม่เท่ากัน
§ ถั่วเติบโตได้อย่างไร
§ ทำไมถั่วมีหลายชื่อ
|
§ ปลูกถั่วทำไม
§ ถั่วมีกี่ชนิด
§ ถั่วมีสีอะไรบ้าง
§ ถั่วทำอะไรได้บ้าง
§ ทำไมถั่วถึงปลูกง่าย
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “สวนถั่วหรรษา”
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 Quarter 2 ภาคเรียนที่ 1 / 2557
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
สร้างฉันทะ
- สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping
ก่อนเรียน
|
มาตรฐาน ว 8.1
-ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา
ตามความสนใจ (ว8.1 ป.2/1)
- วางแผนการศึกษาค้นคว้า
สำรวจ ตรวจสอบ โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และผู้รู้ (ว8.1ป.2/2)
- ใช้เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบ รวบรวมข้อมูล
บันทึก หรือสรุปผลการเรียนรู้อย่างเหมาะสม(ว8.1 ป.2/3)
- จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการตรวจสอบ
แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้ได้ (ว8.1 ป.2/4-6)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
-
ยอมรับในความคิด และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้
(ส 2.1 ป. 2/3)
-
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส
2.1
ป. 2/4)
|
มาตรฐาน
พ 2.1
-
ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกหัวข้อและวางแผนการเรียนรู้ได้
(พ 2.1 ป. 2/1)
-
ให้เกียรติและบอกความสำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเลือก การวางแผน
รวมทั้งการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้ (พ 2.1 ป. 2/2)
|
มาตรฐาน
ศ
1.1
นำสิ่งที่ได้ดู
ได้ฟัง ได้เห็นสร้างงานศิลปะโดยการวาดภาพและบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็นและเรื่องราวเนื้อหาของภาพได้
(ศ1.1 ป. 2/7)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-
ทำงานได้ด้วยตนเอง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง
1.1
ป. 2/3)
มาตรฐาน
ง 2.1
-
มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง
และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานภาพวาด รวมทั้งวางแผนล่วงหน้าในการเรียนได้
(ง
2.1
ป.2/4)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-เข้าใจและสามารถระบุสถานที่
ที่มารวมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของถั่วให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ส4.1ป.2/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- สามารถสืบค้นและเข้าใจประเภทของถั่วที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง
(ส 4.2 ป.2/1)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
ลักษณะ ประเภท ที่มาของถั่วแต่ละชนิดและโครงสร้างเมล็ด
- ที่มาและการนำเข้ามาของถั่วในประเทศไทย
- การแบ่งประเภท และชนิดของถั่ว
- ลักษณะโครงสร้างของเมล็ดถั่ว
-ความสัมพันธ์ของเมล็ดถั่วเชื่อมโยงกับคน
|
มาตรฐาน
ว 1.1
-สังเกตลักษณะภายนอกของเมล็ดถั่วและโครงสร้างภายนอก (ว1.1 ป.5/1)
-อธิบายการเจริญเติบโตของมนุษย์ในครรภ์จนวัยแรกเกิดเปรียบเทียบกับเมล็ดถั่ว(ว1.1 ป.6/1)
มาตรฐาน
ว 1.2
-อธิบายประโยชน์ของถั่วในแต่ละท้องถิ่น (ว1.2 ป.2/1)
-เปรียบเทียบลักษณะที่คล้ายคลึงกันของเด็กในครรภ์และเมล็ดถั่ว
(ว1.2 ป.3/1)
-เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้ายคลึงกันของถั่วและคน
(ว1.2
ป.3/2)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
-
ยอมรับในความคิด
และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้
(ส 2.1 ป. 2/3)
-
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส
2.1
ป. 2/4)
|
มาตรฐาน
พ 1.1
-อธิบายลักษณะและหน้าที่ของโครงสร้างภายในเมล็ดถั่วและเด็กในครรภ์ (พ 1.1ป. 2/1)
-อธิบายธรรมชาติของชีวิตมนุษย์
(พ 1.1ป. 2/3)
-อธิบายลักษณะและการเจริญเติบโตของร่างกายมนุษย์ในครรภ์
(พ
1.1ป. 3/1)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-อธิบายรูปร่างและรูปทรงของเมล็ดถั่วต่างๆ ได้
(ศ 1.1ป.2/1)
-สามารถวาดภาพสื่อความหมายการงอกของเมล็ดโดยใช้เส้น สี รูปร่าง
รูปทรงในธรรมชาติ
(ศ 1.1ป.2/2)
- เข้าใจและสามารถวาดภาพเพื่อสื่อเรื่องราวเกี่ยวกับความหมาย
ความสำคัญและ
การกำเนิดของพืชจากเมล็ดและทารกในครรภ์ รวมทั้งสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ศ 1.1ป.2/6)
-เลือกงาน และบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็นรวมถึงเนื้อหาเรื่องราว
(ศ 1.1ป.2/7)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-ใช้และสามารถระบุวัสดุ เครื่องมือ
และอุปกรณ์ที่ในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและประหยัด
(ง 1.1 ป.2/2)
-ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงาน
(ง 1.1 ป.4/2)
-สามารถทำงานได้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีความรับผิดชอบ
(ง 1.1 ป.4/3)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถระบุเวลา เหตุการณ์ เห็นความสัมพันธ์ของเวลา เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและเข้าใจถึงความเปลี่ยน
แปลง (ส4.1ป.2/1)
- เข้าใจและสามารถลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากหลัก
ฐานทางประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย และสามารถวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลได้
(ส4.1ป.2/2)
- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นที่มาและความสำคัญของถั่วแต่ละชนิดโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส4.1ป.5/1)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
ปัจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นถั่ว
-คุณสมบัติของถั่ว
(ของแข็ง
ของเหลว ก๊าซ)
-ปัจจัยต่อการเจริญ
เติบโต
(น้ำ, ดิน,
อากาศ, แสงอาทิตย์)
- หน้าต่างๆ ที่ของส่วนประกอบต่างๆ ของพืช
-การเพาะเมล็ดถั่วงอก
|
มาตรฐาน
ว
1.1
-
ทดลองและสามารถอธิบายน้ำ อาหาร
อากาศมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันและเป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิตของพืช (ถั่ว)
(ว1.1ป.2/1)
-
อธิบายอาหาร น้ำ อากาศ
เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของพืชสัตว์และการนำความรู้
ไปใช้ประโยชน์
(ว1.1 ป.2/2)
-สำรวจและอธิบายพืชสามารถตอบสนองต่อแสง
อุณหภูมิ และการสัมผัส(ว1.1
ป.2/3)
-อธิบายปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของถั่วและมนุษย์
-ทดลองการตอบสนองของแสงต่อพืชต่อแสงและการสัมผัส
(ว1.1ป.4/3)
มาตรฐาน
ว
1.2
-อธิบายพืช
(ถั่ว) ประโยชน์ที่ปลูกอยู่ในท้องถิ่น (ว1.2ป.2/1)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
-
ยอมรับในความคิด และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการวิเคราะห์ปัจจัยการเจริญเติบโตของพืช
(ส 2.1 ป. 2/3)
-
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส
2.1
ป. 2/4)
|
มาตรฐาน
พ 1.1
-อธิบายลักษณะและหน้าที่ของโครงสร้างถั่ว (พ 1.1ป. 2/1)
-อธิบายวิธีดูแลต้นถั่วและตนเอง (พ 1.1ป. 2/2)
-อธิบายธรรมชาติของถั่วและชีวิตมนุษย์
(พ 1.1ป. 2/3)
-ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของตนเองและต้นถั่ว
(พ 1.1ป. 3/3)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
-อธิบายรูปร่างและรูปทรงของต้นถั่วต่างๆ
ได้
(ศ 1.1ป.2/1)
-สามารถวาดภาพสื่อความหมายการงอกของเมล็ดโดยใช้เส้น
สี รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ
(ศ 1.1ป.2/2)
-
เข้าใจและสามารถวาดภาพเพื่อสื่อเรื่องราวเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญและ
เติบโตของพืชจากเมล็ดเป็นต้นโดยอาศัยปัจจัยต่างๆ
ในการเจริญเติบโต
(ศ 1.1ป.2/6)
-เลือกงานและบรรยายสิ่งที่มองเห็นรวมทั้งเนื้อหาเรื่องราว
(ศ
1.1ป.2/7)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-
บอกวิธีและประโยชน์ของการทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.2/1)
-ใช้และสามารถระบุวัสดุ
เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและประหยัด (ง 1.1 ป.2/2)
-ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงาน
(ง
1.1
ป.4/2)
-สามารถทำงานได้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีความรับผิดชอบ
(ง
1.1
ป.4/3)
|
มาตรฐาน
ส 4.1
-ระบุเวลาที่ถั่วเจริญเติบโตตั้งแต่วันที่เริ่มปลูกจนโต
(ส 4.1 ป. 2/1)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
|
มาตรฐาน
ว
3.1
-เลือกใช้วัสดุและสิ่งของต่างๆ
ได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย (ว 3.1ป.3/1)
-ทดลองการตอบสนองของแสงต่อพืชต่อแสงและการสัมผัส(ว3.1ป.4/3)
มาตรฐาน ว 6.1
- สามารถสำรวจและจำแนกประเภทของดินที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของถั่วแต่ละประเภทและเป็นโดยใช้คุณสมบัติทางกายภาพเป็นเกณฑ์
และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ (ว 6.1 ป.2/1)
มาตรฐาน
ว 8.1
-
สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญเกี่ยวกับการเกิดและการเจริญเติบโตของต้นถั่วแต่ละประเภท
รวมทั้งเข้าใจถึงแหล่งที่มาของถั่วแต่ละประเภท
(ว
8.1
ป.2/1)
|
|
|
|
|
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
|
-วางแผนการสังเกต
สำรวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าโดยใช้ความคิดของตนเองและครู
(ว
8.1
ป.2/2)
-ใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบและบันทึกข้อมูล (ว 8.1
ป.2/3)
-
จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการศึกษาเรียนรู้ แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม
และสรุปความรู้จากสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
(ว 8.1 ป.2/4)
-
ตั้งคำถามใหม่จากการสำรวจ ตรวจสอบ(ว 8.1 ป.2/5)
-
แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มและรวบรวมความรู้ (ว 8.1 ป.2/6)
- บันทึกและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้า
การตรวจสอบ คำอธิบาย แล้วนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ว8.1 ป.2/7-8)
|
|
|
|
|
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
ชนิด และประเภทของพืช
- ชนิดของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
- ประเภทของพืช (พืชยืนต้น, พืชล้มลุก)
|
มาตรฐาน
ว
1.2
-ระบุลักษณะของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
โดยใช้ลักษณะภายนอกเป็นเกณฑ์(ว1.2 ป.5/4)
มาตรฐาน
ว 2.1
-สำรวจถั่วในท้องถิ่นของตนและอธิบายความสัมพันธ์ของถั่วกับสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
(ว2.1 ป.3/1)
มาตรฐาน
ว 3.1
-ระบุชนิดและเปรียบเทียบสมบัติของลักษณะโครงสร้างถั่ว
(ว
3.1 ป.2/1)
มาตรฐาน
ว
6.1
-สำรวจและจำแนกประเภทของดิน
โดยใช้สมบัติทางกายภาพเป็นเกณฑ์และนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการปลูกถั่ว (ว6.1
ป.2/1)
มาตรฐาน
ว
8.1
- สามารถวางแผนการศึกษาโดยใช้ความคิดของตนเอง และของกลุ่ม
และผู้รู้ (ว 8.1 ป.2/2)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
-
ยอมรับในความคิด และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการวิเคราะห์ปัจจัยการเจริญเติบโตของพืช
(ส 2.1 ป. 2/3)
-
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส
2.1
ป. 2/4)
|
มาตรฐาน
พ 1.1
-อธิบายลักษณะและหน้าที่ของโครงสร้างพืช(พ 1.1ป. 2/1)
-อธิบายธรรมชาติของถั่วและพืชอื่น
ๆ
(พ 1.1ป. 2/3)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
-อธิบายรูปร่างและรูปทรงของใบพืชต่างๆ
ได้
(ศ 1.1ป.2/1)
-สามารถวาดภาพสื่อความหมายการงอกของเมล็ดโดยใช้เส้น
สี รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ
(ศ 1.1ป.2/2)
-
เข้าใจและสามารถวาดภาพเพื่อสื่อเรื่องราวเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญและชนิดของใบเลี้ยงได้
(ศ
1.1ป.2/6)
-เลือกงานและบรรยายสิ่งที่มองเห็นรวมทั้งเนื้อหาเรื่องราว
(ศ
1.1ป.2/7)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-
บอกวิธีและประโยชน์ของการทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.2/1)
-ใช้และสามารถระบุวัสดุ
เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและประหยัด (ง 1.1 ป.2/2)
-ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงาน
(ง
1.1
ป.4/2)
-สามารถทำงานได้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีความรับผิดชอบ
(ง
1.1
ป.4/3)
|
มาตรฐาน
ส 4.1
-ระบุเวลาที่ถั่วเจริญเติบโตตั้งแต่วันที่เริ่มปลูกจนโตและสังเกตชนิดของใบเลี้ยง
(ส 4.1 ป. 2/1)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
|
- สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์
เครื่องมือที่เหมาะสมในการศึกษาค้นคว้า สำรวจ ตรวจสอบ และบันทึกข้อมูล (ว 8.1 ป.2/3)
- สามารถบันทึกและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการต่างๆ
ตามความเป็นจริงและมีเอกสารอ้างอิง (ว 8.1 ป.2/4)
- สามารถนำเสนอและจัดแสดงผลงานรูปแบบต่าง
ๆจากการศึกษาค้นคว้าให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ว8.1 ป.2/8)
|
|
|
|
|
|
ระบบนิเวศน์รอบๆ
-สิ่งมีชีวิตรอบๆแปลงถั่ว
-
ศัตรูพืช (วัชพืชและสัตว์)
-
การกำจัดศัตรูพืช
|
มาตรฐาน
ว 1.2
-อภิปรายสิ่งมีชีวิตที่พบเห็นรอบๆแปลงถั่ว
(ว1.2
ป.2/1)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
-
ยอมรับในความคิด และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการสังเกต
วิเคราะห์ สิ่งต่างๆ รอบๆ แปลงถั่ว
(ส 2.1 ป. 2/3)
|
มาตรฐาน
พ 1.1
-อธิบายลักษณะและหน้าที่ของสิ่งต่างๆ รอบๆแปลงถั่ว (พ 1.1ป. 2/1)
-อธิบายวิธีดูแลต้นถั่วและตนเอง (พ 1.1ป. 2/2)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
-อธิบายรูปร่างและรูปทรงของสิ่งมีชีวิตรอบๆแปลงถั่วได้
(ศ 1.1ป.2/1)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-
บอกวิธีและประโยชน์ของการทำงานเพื่อช่วยเหลือตนเอง (ง 1.1 ป.2/1)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- เข้าใจและสามารถระบุเวลา เหตุการณ์ เห็นความสัมพันธ์ของเวลา เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและเข้าใจถึงความเปลี่ยน
แปลง (ส4.1ป.2/1)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
|
มาตรฐาน
ว
2.1
-
สำรวจแปลงถั่วและความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ระบบนิเวศน์รวมทั้งสิ่งแวดล้อมบริเวณนั้นแล้วสามารถอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ว 2.1ป.3/1)
-สืบค้นข้อมูลและอภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในแปลงถั่วได้
(ว 2.1ป.6/3)
มาตรฐาน ว 2.2
- เข้าใจและสามารถอธิบาย รวมทั้งระบุปัญหาของศัตรูพืชที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นถั่ว
(ว 2.2 ป.3/2)
มาตรฐาน ว 8.1
-
จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการศึกษาเรียนรู้
แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้จากสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
(ว8.1 ป.2/4-6)
- บันทึกและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้า การตรวจสอบ
คำอธิบาย แล้วนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ว8.1 ป.2/7-8)
|
-
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส
2.1
ป. 2/4)
|
-ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของตนเองและต้นถั่ว
(พ 1.1ป. 3/3)
มาตรฐาน
พ 4.1
-ระบุสิ่งต่างๆ ที่พบในแปลงถั่ว (พ 4.1ป. 2/3)
-อธิบายวิธีป้องกันศัตรูพืชและระบุ(พ
4.1ป. 2/4)
|
-สามารถวาดภาพสื่อความหมายการงอกของสิ่งมีชีวิตที่พบโดยใช้เส้น
สี รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ
(ศ 1.1ป.2/2)
-
เข้าใจและสามารถวาดภาพเพื่อสื่อเรื่องราวเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญและ
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆได้
(ศ
1.1ป.2/6)
-เลือกงานและบรรยายสิ่งที่มองเห็นรวมทั้งเนื้อหาเรื่องราว
(ศ
1.1ป.2/7)
|
-ใช้และสามารถระบุวัสดุ
เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและประหยัด (ง 1.1 ป.2/2)
-ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงาน
(ง
1.1
ป.4/2)
-สามารถทำงานได้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีความรับผิดชอบ
(ง
1.1
ป.4/3)
|
- เข้าใจและสามารถลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากหลัก
ฐานทางประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย และสามารถวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลได้
(ส4.1ป.2/2)
- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นที่มาและความสำคัญของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส4.1ป.5/1)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
ประโยชน์และภัยจากการรับประทานถั่ว
-
ประโยชน์
(ต่อคน สัตว์ พืช)
-
สารอาหารจากถั่ว
-
ภัยจากการรับประทานถั่ว
|
มาตรฐาน ว 2.2
- เข้าใจและสามารถอธิบายประโยชน์และโทษที่เกิดจากถั่วที่มีผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตบนโลกได้
( ว 2.1 ป.3/1)
-
เข้าใจและสามารถอธิบาย รวมทั้งระบุการใช้ประโยชน์จากถั่วที่มีผลต่อสุขภาพได้
(ว 2.2 ป.3/2)
|
มาตรฐาน
ส
5.2
-เข้าใจความสำคัญของถั่ว
เห็นคุณค่าและความสำคัญของถั่วที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
(ส
5.2
ป.2/1)
-สามารถนำถั่วมาประกอบอาหารได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ส
5.2
ป.2/3)
-มีส่วนร่วมในการดูแลแปลงถั่วรวมทั้งปรับปรุงสภาพแวดล้อมรอบๆแปลงถั่วให้เหมาะสมและไม่ก่อให้เกิดมลพิษ
(ส
5.2
ป.2/4)
|
มาตรฐาน พ 2.1
- มีความภาคภูมิใจในตนเอง สามารถเป็นส่วนหนึ่งของทีม
และมั่นใจในการแสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนและการทำกิจรรม (พ 2.1 ป.2/4)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
-สามารถสร้างสรรค์ผลงานภาพเพื่อแสดงคุณประโยชน์และโทษจากการรับประทานถั่วได้
(ศ1.1
ป.2/3)
-เข้าใจและสามารถสร้างแบบจำลองความสัมพันธ์ของถั่วและสิ่งแวดล้อมแล้วสามารถอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ศ1.1 ป.2/4)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-
ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการทำงานอย่างเหมาะสมกับงาน
( ง 1.1 ป.2/2)
-
ใช้พลังงานและทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัด คุ้มค่าและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ง 1.1 ป. 4/4)
มาตรฐาน
ง 3.1
-
สามารถรวบรวมข้อมูลที่ศึกษาจากแหล่งต่าง ๆ เช่นคอมพิวเตอร์ สื่อสารสนเทศ
ได้อย่างเหมาะสม
(ง
3.1
ป .6/2)
|
มาตรฐาน
ส 4.2
-
สามารถสืบค้นและเข้าใจวิถีชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับการรับประทานถั่วและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง
(ส 4.2 ป.2/1)
-
ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการรับประทานถั่ว
(ส 4.2 ป.2/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
วัฒนธรรม
ประเพณี ความเชื่อเกี่ยวกับการรับประทานถั่วเศรษฐศาสตร์
-
การนำถั่วมาประกอบเป็นอาหารตราเทศกาล
-
การถนอมอาหารประเภทถั่ว
-การจำหน่ายอาหารประเภทถั่ว
|
มาตรฐาน
ว
8.1
-
ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์
ตั้งคำถามและหาคำตอบเกี่ยวกับจังหวัดบุรีรัมย์ในอนาคตผ่านการทำชิ้นงานและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจสิ่งที่ตนเองศึกษา(ว 8.1 ป.2/1)
-
วางแผนการศึกษาค้นคว้าสำรวจตรวจ สอบ โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และผู้รู้
(ว8.1ป.2/2)
-
ใช้เครื่องมือ สื่อวัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบรวบรวมข้อมูล บันทึก
หรือสรุปผลการเรียนรู้อย่างเหมาะสม (ว8.1 ป.2/3)
|
มาตรฐาน ส1.1
- เรียนรู้หลักการ ประวัติ
ความสำคัญและเข้าใจความสำคัญความหมาย รวมทั้งความแตกต่างของ
ความเชื่อ ให้เข้าถึงความจริง สามารถนำไปใช้
ชื่นชมและมีวิจารณญาณในการปฏิบัติชอบ
(ส1.1 ป.2/1-4)
|
มาตรฐาน
พ 2.1
-
แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม เป็นเพื่อนและสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ
(พ
2.1
ป.4/2)
มาตรฐาน
พ 5.1
-
สามารถทำงานและดูแลตนเองระหว่างการทำงานหลีกเลี่ยงสถานที่ที่ก่อให้เกิดอันตรายและไม่ทำให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับอันตราย
(พ
5.1
ป.2/4)
|
มาตรฐาน
ศ1.1
-วาดการ์ตูนสื่อเรื่องราวเกี่ยวกับอาหารจากถั่วพร้อมทั้งนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ศ 1.1
ป. 2/3)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-
มีทักษะกระบวน การทำงาน แสวงหา ความรู้ การจัดการ
การแก้ไขปัญหาและการทำงานร่วมกับผู้อื่น (ง 1.1 ป.2/2)
-
ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกระบวนการทำงาน รอบคอบ
และมีจิตสำนึกในการใช้ทรัพยากรและพลังงาน อย่างประหยัด คุ้มค่า (ง 1.1 ป.3/3)
มาตรฐาน ง 2.1
- มีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ ด้วยการลดการใช้ทรัพยากร
หรือเลือกใช้ทรัพยากรที่ไม่ส่งผลกระทบต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมีคุณสมบัติ
ตรงตามการใช้งาน (ง 2.1 ป. 3/3)
มาตรฐาน
ง 3.1
-
สามารถรวบรวมข้อมูลที่ศึกษาจากแหล่งต่าง ๆ เช่นคอมพิวเตอร์ สื่อสารสนเทศ
ได้อย่างเหมาะสม (ง 3.1 ป .6/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับวิถีชีวิตและการถือกำเนิดของอาหารตามวิถีชีวิตของคนแต่ละท้องถิ่นได้
(ส4.1ป.2/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
ถั่วและอาหารประเภทถั่วในอนาคต
-ความต้องการถั่วในอนาคต
-ลักษณะของถั่วในอนาคต
-
ผลิตภัณฑ์ การแปรรูปอาหารจากถั่วเพื่อรับประทานและจำหน่าย
|
มาตรฐาน
ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องความสัมพันธ์ของถั่วต่อสิ่งมีชีวิตในอนาคต
การแปรรูปถั่วเป็นอาหารต่างๆ
(ว 8.1ป.2/1)
-แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปริมาณและความต้องการอาหารจากถั่วในอนาคต
(ว 8.1ป.2/6)
-
บันทึกและอธิบายผลการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ ตามความเป็นจริง มีภาพประกอบคำอธิบาย
(ว
8.1ป.3/4)
|
มาตรฐาน
ส
5.1
-เข้าใจความสำคัญของถั่ว
เห็นคุณค่าและความสำคัญของถั่วที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
(ส
5.2
ป.2/1)
-สามารถนำถั่วมาประกอบอาหารได้อย่างคุ้มค่า
เกิดประโยชน์สูงสุดและก่อให้เกิดเป็นรายได้ (ส 5.2 ป.2/3)
|
มาตรฐาน
พ 2.1
-
แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม เป็นเพื่อนและสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ
(พ
2.1
ป.4/2)
มาตรฐาน
พ 5.1
-
สามารถทำงานและดูแลตนเองระหว่างการทำงานหลีกเลี่ยงสถานที่ที่ก่อให้เกิดอันตรายและไม่ทำให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับอันตราย
(พ
5.1
ป.2/4)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
-สามารถสร้างสรรค์ผลงานภาพเพื่อแสดงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเกี่ยวกับการรับประทานถั่วได้
(ศ1.1
2/3)
-เข้าใจและสามารถสร้างแบบจำลองความสัมพันธ์ของอาหารที่แปรรูปจากถั่วได้แล้วสามารถอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ศ1.1
2/4)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-
มีทักษะกระบวน การทำงาน แสวงหา ความรู้ การจัดการ
การแก้ไขปัญหาและการทำงานร่วมกับผู้อื่น (ง 1.1 ป.2/2)
-
ทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ตามกระบวนการทำงาน รอบคอบ
และมีจิตสำนึกในการใช้ทรัพยากรและพลังงาน อย่างประหยัด คุ้มค่า (ง 1.1 ป.3/3)
มาตรฐาน
ง 3.1
-
สามารถรวบรวมข้อมูลที่ศึกษาจากแหล่งต่าง ๆ เช่นคอมพิวเตอร์ สื่อสารสนเทศ
ได้อย่างเหมาะสม
(ง
3.1
ป .6/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับวิถีชีวิตและการถือกำเนิดของอาหารตามวิถีชีวิตของคนแต่ละท้องถิ่นได้
(ส4.1ป.2/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
|
สรุปองค์ความรู้
-
ทบทวนสิ่งที่
อยากเรียนรู้
-
Mind Mapping
หลังเรียนรู้
-
สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว
สิ่งที่ควรปรับปรุง
|
มาตรฐาน
ว
8.1
-
ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งคำถามและหาคำตอบเกี่ยวกับถั่วแต่ละชนิดในปัจจุบันและอนาคตผ่านการทำชิ้นงานแผนภาพความคิดและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจสิ่งที่ตนเองศึกษา
(ว8.1 ป.2/1)
-
จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการศึกษาเรียนรู้
แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้จากสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้ (ว8.1 ป.2/4-6)
-
บันทึกและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้า การตรวจสอบ โดยสรุปเป็น Mind Mapping หรือคำอธิบาย แล้วนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว8.1 ป.2/7-8)
|
มาตรฐาน
ส2.1
-
ยอมรับในความคิด
และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้
(ส 2.1 ป. 2/3)
-
เคารพและให้เกียตริในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส
2.1
ป. 2/4)
|
มาตรฐาน
พ2.1
-
ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกหัวข้อและวางแผนการเรียนรู้ได้
(พ 2.1 ป. 2/1)
-
ให้เกียรติและบอกความสำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเลือก การวางแผน
รวมทั้งการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ
2.1
ป. 2/2)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
-อธิบายรูปร่างและรูปทรงของสิ่งมีชีวิตรอบๆแปลงถั่วได้
(ศ 1.1ป.2/1)
-
เข้าใจและสามารถวาดภาพเพื่อสื่อเรื่องราวเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญและ
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆได้
(ศ
1.1ป.2/6)
-เลือกงานและบรรยายสิ่งที่มองเห็นรวมทั้งเนื้อหาเรื่องราว
(ศ
1.1ป.2/7)
|
มาตรฐาน
ง1.1
-ทำงานได้ด้วยตนเอง
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง 1.1 ป. 2/3)
มาตรฐาน
ง 2.1
-มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง
และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานได้
(ง 2.1 ป.2/4)
|
มาตรฐาน
ส 4.3
สามารถทำประโยชน์ต่อท้องถิ่น
เห็นคุณค่าของถั่วและทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของถั่วต่อโลกและสิ่งมีชีวิตในอนาคต
(ส4.3
ป.2/1)
-ยกตัวอย่าง
วัฒนธรรมปะเพณี และภูมิปัญญาไทยในการสืบทอดเกี่ยวกับการเก็บรักษา การแปลรูปถั่ว
(ส4.3 ป.2/2)
|